นักลงทุนถือหุ้น ktc ถล่ม 4 หุ้นยับ พบ 54 บจ.ถูกใช้วางมาร์จิ้นสูงเกิน 10%
นักลงทุนถือหุ้น ktc ในแวดวงตลาดหุ้น sa gaming เว็บหลัก มีเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการซื้อขายหุ้นให้นักลงทุนไม่น้อย หนึ่งในนั้น คือ บัญชีมาร์จิ้น หรือเครดิตบาลานซ์ ซึ่งเป็นบัญชีที่โบรกเกอร์เปิดขึ้นเพื่อให้สินเชื่อกับนักลงทุนในการลงทุนซื้อหลักทรัพย์ โดยนักลงทุนจ่ายเงินซื้อเองส่วนหนึ่ง ที่เหลือโบรกเกอร์จะเป็นฝ่ายจ่าย เงินที่โบรกเกอร์จ่ายให้นั้น ถือว่าเป็นเงินส่วนที่นักลงทุนกู้จากโบรกเกอร์นั่นเอง พูดง่าย ๆ คือ กลไกการทำงานของบัญชีประเภทนี้ คือ “มีเงินส่วนหนึ่ง กู้เพื่อลงทุนอีกส่วนหนึ่ง” โดยนักลงทุนต้องนำเงินสดหรือหลักทรัพย์มาวางเป็นหลักประกันการชำระหนี้ก่อนซื้อหุ้นตามสัดส่วนที่โบรกเกอร์กำหนด เช่น กำหนดสัดส่วนที่ 50% ของวงเงินกู้ ดังนั้น ในการซื้อหุ้น 100 บาท นักลงทุนออกเงินตัวเอง 50 บาท ใช้เงินโบรกเกอร์อีก 50 บาท ซึ่งนักลงทุนจะต้องจ่ายดอกเบี้ยสำหรับเงินกู้ด้วย
นักลงทุนถือหุ้น ktc ลงทุนได้ แต่ต้องระวังเจ็บตัวหนัก จากฟอร์ซเซล
อย่างไรก็ตาม เว็บเกมยิงปลา 1111 การใช้บัญชีมาร์จิ้นซื้อขายหุ้น ก็มีข้อควรระวัง คือ วงเงินกู้ยืมอาจเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามราคาหุ้นที่วางเป็นหลักประกันไว้ ถ้าราคาหุ้นที่วางเป็นหลักประกันไว้ลดลงมาก ๆ จนอัตรามาร์จิ้นต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด โบรกเกอร์อาจบังคับให้ลูกค้าวางหลักประกันหรือเรียกเงินสดเพิ่ม หรืออาจบังคับขาย (Force Sell) หุ้นดังกล่าว เพื่อรักษาอัตรามาร์จิ้นให้อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
โดย “ประกิต สิริวัฒนเกตุ” กรรมการผู้จัดการด้านกลยุทธ์การลงทุน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ ระบุว่า เหตุการณ์ที่นักลงทุนถูกฟอร์ซเซล มักเริ่มต้นด้วยการถือหุ้นเป็นจำนวนมาก หรือพูดง่าย ๆ คือ มีเงินแช่อยู่ในหุ้นเยอะนั่นเอง หลังจากนั้นก็ทำ Corner หุ้น เอาหุ้นที่มีไปวางขอ margin ไล่หุ้นขึ้นไปอีก รวมทั้งอาจใช้ Block Trade เพิ่มพลังการไล่ซื้อด้วย
แต่เมื่อสตอรี่ของหุ้นเริ่มไม่ดี การทำกำไรเริ่มไม่เป็นไปตามเป้าหมายของนักวิเคราะห์ที่เคยคาดการณ์ไว้ก่อนหน้านั้น ก็ไม่สามารถทำให้นักลงทุนที่ขอมาร์จิ้นขายหุ้นดังกล่าว เพื่อนำเงินออกมาหมุนก่อน เพราะถ้าขายหุ้นออกมา และถ้าราคาหุ้นปรับตัวลงแรงอาจเป็นอันตรายได้ เพราะนักลงทุนดังกล่าวก็มีการขอมาร์จิ้น และ Block Trade มาจำนวนมากด้วย
ซึ่งถ้านักลงทุนมีความจำเป็นต้องใช้เงินเร่งด่วน สุดท้ายอาจตัดสินใจนำหุ้นที่มีไปวางจำนำในราคาต่ำกว่ากระดาน เพื่อนำเงินไปจมอยู่กับสินทรัพย์อื่น ๆ พอถึงกำหนดที่ต้องคืนเงินกลับไม่สามารถชำระคืนหนี้ได้ตามกำหนด ส่งผลให้หุ้นที่จำนำไว้ถูกปาทิ้ง
จากนั้น ก็จะเริ่มเข้าสู่ขั้นตอนหายนะของจริง เพราะราคาหุ้นจะเริ่มปรับตัวลง และจะตามมาด้วยโบรกเกอร์ที่ปล่อยมาร์จิ้น รวมถึง Block Trade ต้องรีบโทรแจ้งนักลงทุน เพื่อให้เจ้าตัวมาเติมเงินหลังจากที่ราคาหุ้นปรับตัวลงไป
แต่เมื่อที่ตัวไม่มีเงินสดเพียงพอที่จะไปเติมเงินตามกำหนดได้ ทำให้โบรกเกอร์ต้องตัดสินใจฟอร์ซเซล เมื่อราคาหุ้นปรับตัวลงต่ำกว่าเกณฑ์ และด้วยความที่นักลงทุนส่วนใหญ่มักสะสมของ และขอมาร์จิ้นไว้เป็นจำนวนมากกับหลายโบรกเกอร์ จึงทำให้เหตุการณ์นี้สร้างความเจ็บปวดด้านการเงินกับนักลงทุนอย่างหนักหน่วง